กรณีศึกษาแท่นน้ำมัน BP ระเบิด Deepwater Horizon

ภาพ: กรุงเทพธุรกิจ

 

 

กรณีศึกษา Deepwater Horizon แท่นขุดเจาะน้ำมัน BP ระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อ 20 เม.ย. 2010

 

มีผู้เสียชีวิต 11 ราย มีน้ำมันรั่วไหลสู่ทะเลทั้งหมด 4.9 ล้านบาร์เรล ยาวนาน 87 วัน กระจายวงกว้างไปถึง 40 ไมล์จากจุดเกิดเหตุ มูลค่าเสียหายมากกว่า 10 ล้านล้านดอลลาร์ US

นก 800,000 ตัว   เต่า 65,000 ตัว  ปลาวาฬและปลาโลมา 1,400 ตัว

ซึ่งอาจเป็นเพียงแค่ส่วนน้อย เพราะเราคงไม่สามารถลงไปเก็บข้อมูลใต้ทะเลลึกได้

 

สาเหตุเกิดจาก 

การขุดเจาะบ่อน้ำมัน ในอ่าวเม็กซิโก ที่ชื่อว่า Macondo เป็นหลุมลึก และขุดเจาะยาก บวกกับสภาพดินและโคลน ใต้ดินเป็นรูพรุน มีความแข็งแรงต่ำ ไม่เอื้ออำนวยในการขุดเจาะ หรือ เป็นที่ๆคนงานเรียกกันว่า บ่อนรก

 

BP จึงต้องนำอุปกรณ์แท่นขุดเจาะที่มีประสิทธิภาพสูงชื่อว่า “Deepwater Horizon” 

แท่นขุดนี้  สามารถขุดเจาะได้ลึกถึง 23,400 ฟุต และเคยเจาะทำลายสถิติ ขุดเจาะได้สูงสุดถึง 35,055 ฟุต ใน ปี2009

 

แต่มันไม่ง่ายอย่างที่คิด ตามสภาพที่ได้กล่าวไป  จึงทำให้แผนงานล่าช้ากว่ากำหนดถึง 5 เดือน

ซึ่งทุกนาทีที่เลื่อนออกไป ย่อมหมายถึงต้นทุนค่าใช้จ่ายได้พอกพูนขึ้นเรื่อยๆ ประกอบกับราคาน้ำมันในตลาดโลกที่กำลังฟื้นตัวสูงขึ้น  กดดันให้ BP พยายามเร่งรัดการขุดเจาะ

ด้วยเหตุนี้ 

 

พวกเขาจึงมองข้ามเกี่ยวกับความปลอดภัยไปหลายด้าน

 

ไม่ว่าจะเป็น สัญญาณรอยรั่วในหลุม, ปัญหาแรงดันอากาศสูง, อุปกรณ์ขาดการบำรุงรักษา

รวมทั้งพนักงานบางราย ยังได้กรอกข้อมูลปลอม เพื่อให้ผ่านผลทดสอบการขุดเจาะอีกด้วย

 

จนกระทั่งในวันที่ 20 เมษายน ปี 2010

 

ก๊าซธรรมชาติที่ปะปนอยู่ในแหล่ง ได้ถูกแรงดันผลักขึ้นมาข้างบนแท่น ผ่านรอยรั่วตามชั้นหิน

และได้ทำปฏิกิริยากับอากาศ จนเกิดระเบิดขึ้นอย่างรุนแรง อันนำไปสู่การ

เกิดโศกนาฎหกรรมดังกล่าว

 

ศาลสหรัฐฯ ได้ตัดสินให้บริษัทมีความผิด 14 คดี

และสั่งปรับเงินทันที 143,000 ล้านบาท รวมทั้งต้องชดเชยค่าใช้จ่ายกำจัดคราบน้ำมันในทะเลด้วย

 

ทั้งๆที่ ระบบรักษาความปลอดภัยนั้นถือได้ว่าดีพวอเตอร์ฮอไรซันทำได้ดีมาก เพราะว่าแท่นขุดเจาะน้ำมันแห่งนี้ ถึงแม้ว่าจะมีความสูงถึงร่วม 400 ฟุต แต่มันก็มีความแข็งแกร่งและมีระบบป้องกันภัยอันยอดเยี่ยม 

 

มีทั้งอุปกรณ์ที่จะช่วยเปลี่ยนทิศทางของแก๊ส และ น้ำมันที่รั่วไหลให้ออกห่างจากตัวแท่น มีเครื่องมือที่สามารถปิดผนึกหลุมเจาะที่รั่วหรือระเบิด พร้อมทั้งระบบที่ทำให้แท่นออกห่างจากการระเบิดได้อีกด้วย และยังติดตั้งระบบป้องกันแก๊สทะลัก และสัญญาณเตือนภัยที่สามารถบอกลูกเรือได้ทันที แม้จะมีแก๊สรั่วเพียงแค่เล็กน้อย 

 

ทีมลูกเรือของแท่นขุดเจาะยังได้รับการฝึกซ้อมหนีภัยอย่างสม่ำเสมอ โดยมีการควบคุมดูแลโดยหัวหน้างานที่ใส่ใจความปลอดภัยเหนือสิ่งอื่นใด

 

แต่ในวันนั้น เกิดความผิดปกติของระบบควบคุมความดันในแท่นขุดเจาะ น้ำทะเลปริมาณมากไหลเข้าไปในท่อลำเลียงน้ำมัน และ ก๊าซจากหลุมเข้าสู่แท่น จนเกิดการระเบิดของน้ำโคลน ที่มีส่วนประกอบของก๊าซมีเทน และ ของเหลวเปลี่ยนเป็นก๊าซอย่างรวดเร็ว จนนำไปสู่การระบิดอย่างเนื่องจนเกิดไฟลุกลามบนแท่น 

อะไรคือสาเหตุที่อยู่เบื้องหลังหายนะในครั้งนี้

 

 

 ภาพ มติชน

 

สิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติม

ในช่วง 4-5 ปีก่อนที่จะเกิดเหตุ Deepwater Horizotal  BP เองก็มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อย ล่าสุดก็เมื่อเดือนมีนาคม ปี2005 โรงกลั่นน้ำมันของ BP ที่ Texas ระเบิด มีคนเสียชีวิตไปหลายคน เพราะนโยบายลดค่าใช้จ่ายจากบริษัทแม่ที่ส่งไปยังลูกๆทำให้ทุกคน บริษัทลูกจึงพยายามตัดค่าใช้จ่ายทุกอย่างออก เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย  

 

สิ่งที่ได้เรียนรู้

  1. เมื่อไรที่ให้ความสำคัญกับเรื่องอื่นมากกว่าความปลอดภัย ย่อมเกิดอุบัติเหตุ
  2. หากนายทุนไม่รับฟังผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย หรือ ผู้จัดการแท่น นั่นคืออุบัติเหตุ

 

คำถาม คือ ในเรื่องของความปลอดภัยฯ 

  1. บริษัทตัดค่าใช้จ่ายมากเกินไปหรือเปล่า? 
  2. มีโอกาสที่ผู้บริหาร หรือ หัวหน้างาน จะละเลยเรื่องของความปลอดภัย อันเนื่องมาจากาการตัดค่าใช้จ่าย หรือไม่? 
  3. ขวัญกำลังใจของพนักงานตอนนี้เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าขวัญกำลังใจไม่ดี จะเกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้หรือเปล่า?
  4. เราให้ความสำคัญเรื่องอะไร เป็นอันดับหนึ่งในการทำงาน?


กลับมาทบทวนกัน ตอนนี้หลายโรงงานก็มีนโยบายในการลดค่าใช้จ่าย  เนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19 และการบริหารจัดการของรัฐบาลที่ยังขาดประสิทธิภาพที่ดีพอ 

 

*ตอนนี้ สิ่งที่ผู้คนต่างจดจำ BP ไม่ใช่ความยิ่งใหญ่ทางธุรกิจ

แต่กลับเป็นเหตุการณ์แท่นขุดเจาะน้ำมันระเบิด เมื่อปี 2010

 

*อย่าลืมไปดูหนังกันครับ

cr.ลงทุนแมน, Thairat,รศ. ดร.พิสุทธิ์เพียรมนกุล และ ดร.ณัฐวิญญชวเลิศพรศิยา ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตรจุฬาฯ ตรัง สุวรรณศิลปบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปโตรเลียม จำกัด (มหาชน)


ชื่อผู้ตอบ:


  • ผมมีโอกาสไปพูดเรื่อง ผู้นำด้านความปลอดภัย หรือ Safety Leadership ที่ บริษัท ปตท. สำรวจ และ ผลิต จำกัด (มหาชน) หรือ PTTEP ซึ่งเป็นหลักการที่ ผู้นำด้านความปลอดภัยทุกคนต้องทราบ และ นำ...

  • ตามหลักการของการสร้างพฤติกรรมความปลอดภัย BBS ที่นำไปสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดี Safety Culture สิ่งที่ขาดเสียไม่ได้เลย คือ"การแก้ไขเชิงบวกให้ถูกต้องทันที"เมื่อเจอการกระทำที่ไม่ปลอ...

  • หน้ากากจากญี่ปุ่น... ใช้ป้องกัน PM2.5 ได้ 99% จริงเหรอ? หน้ากากเหล่านี้ ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน PFE โดยใช้อนุภาคขนาด 0.1-1 ไมครอน เป็นตัวทดสอบประสิทธิภาพในการกรอง PFE , BFE, VFE ...

  • วิธีการใช้หน้ากาก N95 ป้องกันฝุ่น PM2.5 อันเนื่องมาจากสภาพอากาศในกทม.ตอนนี้ มีปริมาณความเข้มข้นของฝุ่น PM2.5 สูงเกินกว่าค่ามาตรฐานของความปลอดภัยต่อสุขภาพที่กำหนดไว้ หลายคนกำ...

  • หลายคน เลือกเรียนอาชีวอนามัยฯ เพราะเชื่อว่าเงินดี และไม่ตกงาน ข่าวร้าย คือ ยังมีอีกหลายอย่างที่เรายังไม่รู้ 1. จป.เป็นอาชีพที่น่ารังเกียจมาก เพราะทำให้ผลผลิตของนายจ้างลดลง เพิ...

  • การโค้ช เป็นกระบวนการหนึ่ง ที่หลายองค์กรได้นำมาใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับพนักงาน โดยเฉพาะการโค้ชผู้บริหาร และ ระดับหัวหน้า ในเรื่องของความปลอดภัยในการทำงาน ก็...

  • เมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2561 ผมได้รับเชิญไปพูดเกี่ยวกับ BBS การสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน ให้กับคณาจารย์ นิสิต ป.ตรี ป.โท ป.เอก และ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ณ ภาควิชาเคมีเท...

  • นับย้อนไป 12 ปี เมื่อเข้าสู่การเป็น "จป.วิชาชีพ" แบบเต็มตัวครั้งแรก...ผมไม่คิดว่าคนโง่ๆอย่างผม...จะได้งานรวดเร็วขนาดนี้... ผมได้งานเป็นคนแรกๆของรุ่น ผมได้งานใน บ.อินเดีย ปัญหาเรื่...

  • ทุกวันนี้ มีหลายคนแชทเข้ามาถาม ไลน์มาคุย โทรมาปรึกษา และถามผมว่า... ถ้าอยากเป็นจป.มืออาชีพ ต้องทำอย่างไร...? ผมมักจะถามกลับ ไปว่า เป้าหมายชีวิตของคุณ คือ อะไร ? คุณเห็นภาพของคุณใน...

  • จป. จบใหม่ จบตรงหลายคน อาจจะรู้สึกจี้ดบ้าง เมื่อถูก จป.ที่มีประสบการณ์มากกว่า หรือคนที่เคยทำงานมาก่อนพูดแบบนี้ ไม่มีใครหรอกครับ ที่มีประสบการณ์ตั้งแต่เรียนจบ อย่างมากก็แค่เคยฝึกงาน...

  • การป้องกันเสียงดัง ให้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับว่านายจ้างให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพหู และการได้ยินของลูกจ้างมากน้อยแค่ไหน การสัมผัสเสียงดังเกินมาตรฐานเป็นระยะเวลานานๆ ย่อมส่งผ...

  • ผมได้เดินทางไปให้คำปรึกษา และสำรวจเกี่ยวกับการปกป้องระบบทางเดินหายใจในโรงพยาบาลต่างจังหวัดแห่งหนึ่ง และได้คุยกับ คุณลุงใจดีคนหนึ่งในห้องตัดเฝือก จึงได้ทักทายกัน ปราโมทย์ : สวัสดีคร...

  • เรื่องของเรื่องมันเป็นแบบนี้… ผู้ปฏิบัติงาน “อุบัติเหตุมันไม่เกิดขึ้นกับฉันตอนนี้หรอก, ฉันก็ทำแบบนี้มาตั้งนานแล้ว ก็ไม่เห็นจะเคยได้รับบาดเจ็บอะไรเลย, คุณรู้มั้ยว...

  • "พนักงานผสมสารเคมี ใส่ผ้าปิดจมูก และปฏิเสธที่จะสวมหน้ากากที่มีมาตรฐาน แต่อุปกรณ์อื่นๆใส่ครบหมด อย่างถูกต้องเราจะทำอย่างไร?" ตัวอย่างที่ 1 หัวหน้างาน : ใส่หน้ากากเดี่ยวนี้ เดี๋ย...

  • สาเหตุแอบแฝง(underlying causes) ขาดความรู้ หรือไม่ได้รับการอบรม คิดว่ามันไม่เกิดขึ้นตอนนี้หรอก ทัศนคติไม่ดีต่อความปลอดภัย ไม่เข้าใจการใช้งานอุปกรณ์ความปลอดภัย ทำแบบนี้มานานแล้วก็ไ...

  • วันนี้ได้มีโอกาสไปพูด "ปลุกจิตสำนึกการสวมใส่ PPE" สั้นๆ 1 ชม. ให้กับกลุ่มบริษัท Oil and Gas แห่งหนึ่ง เวลาค่อนข้างจำกัด ดังนั้นทุกนาทีต้องเป็นเรื่องที่ "คนฟังชอบ...ได้ประโยชน์... แ...

  • คนงานหลายคนในโรงหลอมสัมผัสมลภาวะทาง อากาศในการทำงาน เช่น. ควัน, ฝุ่น, SPM, RSPM, ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ออกไซด์ของไนโตรเจน, ไฮโดรคาร์บอน และ โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว,...

  • เสียงดังที่เรารู้จักกันโดยหลักๆมี 2 ประเภท คือ "เสียงดังชนิดแบบต่อเนื่อง" และ "ไม่ต่อเนื่อง" เสียงที่ดังอย่างต่อเนื่องสามารถแบ่งออกได้โดยพิจารณาความแตกต่างของระดับความดัง (Decibel)...

  • อันตรายจากงานพ่นสี (Spray painting)งานพ่นสีจัดเป็นงานที่มีความอันตรายมากงานหนึ่ง เนื่องจากสารปนเปื้อนที่เกิดขึ้นจากการพ่นสีประกอบไปด้วยสองตัวหลักคือ ละออง(Mist) และไอระเหย(Vapor)1 ...

  • ปัญหา โลกแตกที่นายจ้างและลูกจ้างเถียงกันก็คือว่า "เมื่อใดต้องใส่หน้ากาก?" นายจ้าง หรือหัวหน้างาน หรือ จป.บางคนบอกว่าสารเคมีมันเข้มข้นไม่เกินมาตรฐานไม่ต้องใส่ แต่พอนายจ้างหรือแขกมาเ...

  • สรุปสิ่งที่ได้รับตามความเข้าใจ และเทคนิคที่เรียนรู้มานะครับ OHSAS 18001 คือ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และถ้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมต้องไปอ่านเพิ่มใน Guideline 18002 ช...

  • เมื่อวันที่ 19 มี.ค. 57 ผมเดินทางไปบรรยายเรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมีอันตราย และอุปกรณ์ป้องกัน ให้กับบริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอัญธานี เขตประเวศ กทม. พอเปิดประตูรถลงมา ตกใจมาก...

  • ยาเสพติดชนิดใหม่ได้ระบาดไปแล้ว ทั่วโลก…! การออกฤทธิ์อย่างเฉียบพลันของมัน ทำให้เรามีอาการหงุดหงิด อารมณ์เสีย กระวนกระวาย ทุรนทุราย และตอนนี้มันหาซื้อได้ง่ายมาก มันกำลังอยู่ใน...

  • วันนี้ นั่งดูรายการคิดเปลี่ยนโลกทางช่อง 5 ผมว่ามีประโยชน์มากแม้จะเป็นเวลาสั้นๆ แต่อาจทำให้ชีวิตเราและผู้อื่นยาวนานมากขึ้น วันนี้รายการได้เชิญคุณเก๋ ชลลดา เมฆราตรีดารา ภาพยนต์ และพิ...

  • ช่วง นี้ค่อนข้างวุ่นๆเลยไม่มีเวลาเขียนบทความเท่าไร เผอิญไปเจอข้อมูลเก่าสมัยที่เป็นจป.วิชาชีพ อ่านแล้วเป็นประโยชน์ดีครับ ซึ่ง Near miss เป็นอะไรที่ช่วยให้เราประเมินได้ว่ามาตรการความ...

  • เบื่อมั้ย ที่ทุกๆปีจะต้องมาฟังประกาศ 7 วันอันตราย ชีวิตเราเอง แต่กลับต้องมาให้คนอื่นมาห่วงมาเตือน เราบกพร่องขนาดนั้นเชียวหรือ ประเทศไทย มีจำนวนประชากรพอๆกับสหราชอาณาจักร แต่แค...

  • หลายคนไม่ทราบว่าการรับรู้การได้ยิน ของเด็กนั้นไวมาก เราสามารถสังเกตได้จาก การที่เขาสะดุ้ง หรือตื่นขึ้นมา หันควับไปทางใดทางหนึ่ง อันนี้เกี่ยวกับแม่ซื้อหรือเปล่า ผมไม่มั่นใจนัก เรื่อ...

  • วันก่อนผมดูทีวีรายการ "รู้ทันประเทศไทย" โดยดร.เจิมศักดิ์ปิ่นทอง โดยมีแขกรับเชิญคือ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกริก และอีกท่านหนึ่งต้องขออภัยผมจำชื่อไม่ได้ ในรายการได้พูดถึงปัญหาโลกร้อนแล...

  • เมื่อวานนี้ ผมมีโอกาสไปพูด เรื่องการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ให้กับชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้กับผู้เข้าสัมมนาจำนวน 110 คน และคิดว่าเนื้อหาน่าจะเป็นประโ...

  • อยากเป็นผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัยจริงๆหรือ? บนวิถีชีวิตของ จป. วิชาชีพ ความก้าวหน้าสูงสุดในหน้าที่การงาน ก็คือการได้เป็น ผจก.ความปลอดภัยฯ หรือ ไม่ก็ผจก.ความปลอดภัยฯส่วนภูมิภาคใด ...

  • 1. นายจ้างไม่ให้การสนับสนุน ขออะไรไปก็ไม่ให้ความร่วมมือ ดังนั้นไปหานายจ้างคนใหม่ดีกว่า 2. ถูกลดคุณค่า มอง จป.เป็นไม้กันหมา คิดแค่ว่า จ้างเราไว้ให้มีตามกฎหมายก็เพียงพอแล้ว ...
Visitors: 122,338