การสูญเสียการได้ยิน

การป้องกันเสียงดัง ให้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับว่านายจ้างให้ความสำคัญเกี่ยวกับสุขภาพหู และการได้ยินของลูกจ้างมากน้อยแค่ไหน การสัมผัสเสียงดังเกินมาตรฐานเป็นระยะเวลานานๆ ย่อมส่งผลเสียให้ลูกจ้างเป็นโรคสูญเสียการได้ยินได้ทั้งแบบชั่วคราว และถาวร จากสาเหตุดังต่อไปนี้

  • ชนิดของเสียงดัง – ชนิดต่อเนื่อง และไม่ต่อเนื่อง เสียงกระแทก เสียงที่มีความถี่สูง และต่ำ
  • ความเข้มของเสียง – ระดับความดังมาก หรือสูงเกินกว่าระดับที่ร่างกายไม่ควรสัมผัสเกิน
  • สภาพแวดล้อม – พื้นที่ปิด โล่ง การสะท้อนเสียงของพื้นผิว
  • ระยะทางระหว่างหู และแหล่งกำเนิดเสียง – ห่างไกลมากน้อยเพียงใด
  • ท่าทางในกาทำงาน –ที่ทำให้เสียงดังเข้ามาใกล้หูมากที่สุด
  • อายุ – เด็กเล็กจะมีโอกาสสูงมากกว่าผู้ใหญ่ถ้าอยู่ในพื้นที่ที่มีเสียงดัง
  • โรคประจำตัว ภูมิคุ้มกันส่วนบุคคล
  • การสัมผัสเสียงดังจากแหล่งอื่นๆไม่เฉพาะในทีทำงาน เช่น บ้าน กิจกรรมต่าง และ สถานพักผ่อนต่างๆ

การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว(Temporary Hearing Loss)

 

เกิดจากการได้ยินเสียงดังที่สูงเกินกว่าค่าที่มาตรฐานกำหนดไว้เช่น เสียงปืน เสียงกระแทกเสียง เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ โดยสาเหตุที่สูญเสียการได้ยินชั่วคราว เกิดจากที่เซลล์ขนที่อยู่ในหูชั้นใน ภายในคลอเคลีย เกิดการงอ ล้ม แล้วไม่คืนสภาพ ปกติ อันเกิดจากเสียงดังกล่าว หรือสารเคมีที่อยู่ในหูเกิดการเปลี่ยนสภาพไป ต้องใช้ระยะเวลาในการคืนกลับสู่ภาวะปกติ อาจใช้เวลาหลายวัน หรือหลายชั่วโมง หรือ 1-2 วัน

 

การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร (Permanent Hearing Loss)

เกิด จากการสัมผัสเสียงที่ดังเกินกว่ามาตรฐานในระยะเวลานานๆ โดยปกติแล้วมักพบในผู้ทำงานในอุตสาหกรรม โดย สาเหตุเกิดจากการที่เซลล์ขน เซลล์ประสาทเกิดการฉีกขาด ล้มแล้วไม่ลุก ถูกทำลาย หรือเส้นประสาทที่ส่งสัญญาณเสียงไปยังสมองถูกทำลาย ปัจจุบันยังมีผลสำรวจที่น่าสันนิษฐานอีกว่า สารเคมีบางประเภทเช่น สารหนู ปรอท และคาร์บอนไดซัลไฟด์ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ยัง รอการพิสูจน์

การควบคุมที่ใช้กันส่วนใหญ่ คือ การใช้อุปกรณ์คุ้มครองอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment)ที่ถือเป็นทางเลือกสุดท้ายในการป้องกัน ถ้าหมดหนทางในก

ารป้องกันที่แหล่งกำเนิด ทางผ่าน หรือการบริหารจัดการไม่ได้แล้ว อุปกรณ์ลดเสียงที่รู้จักกันดี คือ

 

ปลั๊กลดเสียง (Earplugs)

รูหูของเรามีความยาวประมาณ 1 ¼นิ้ว ส่วนเอียปลั๊กมีขนาดตั้งแต่ ½นิ้ว ถึง ¾ นิ้วนอก จากนี้แล้ว ปลั๊กลดเสียงแบ่งออกเป็นประเภทที่ใช้แล้วทิ้ง และประเภทที่สามารถนำกับมาใช้ใหม่ได้ และป้องกันเสียงที่มีความถี่ต่ำได้ดี

 

ประเภทใช้แล้วทิ้ง (Disposable earplugs)

ส่วนใหญ่ทำด้วย โพลียูรีเทนโฟม และพีวีซีโฟม ทั้งสองค่าการลดเสียงประมาณ 28-33 เดซิเบล ทั้งสองชนิดมีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน แต่พีวีซีโฟมจะมีข้อดีกว่าตรงที่

- เมื่อสอดเข้าไปในรูหูแล้ว แรงดันในหูจะน้อยกว่าทำให้รู้สึกสบาย

- ติดไฟยาก ช่วยในการป้องกันสะเก็ดลูกไฟ

- ดูดซับน้ำได้ยากช่วยป้องกันการลื่นหลุดออกจากรูหูอันเนื่องจากเหงื่อ และความชื้น

การสวมใส่ควรให้เอียปลั๊กสอดเข้าไปในรูหูอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง

 

ประเภทที่นำมาใช้ใหม่ได้ (Reusable earplugs)

ส่วน ใหญ่จะทำด้วย เธอร์โมพลาสติก, ยางและ ซิลิโคน ค่าการลดเสียงอยู่ที่ระหว่าง 24-26 เด ซิเบล ข้อเสียคือเรื่องของการสวมใส่อาจจะเจ็บหูเพราะมีความนุ่มน้อยกว่าประเภทใช้ แล้วทิ้ง แต่มีข้อดีคือประหยัดและใช้ซ้ำได้ เอียปลั๊กที่มีความนุ่มมากจะผลิตจากซิลิโคนซึ่งใกล้เคียงกับผิวหนังมนุษย์ มีอายุการใช้งานได้นาน แต่ราคาค่อนข้างสูง

ลักษณะ เป็นอุปกรณ์ครอบหูลดเสียงทั้งสองข้างก้านอาจทำด้วยพลาสติก หรือลวดสแตนเลส ลวดสแตนเลสจะมีข้อดีตรงที่ช่วยให้แรงบีบของครอบหูทั้งสองข้าง (Camping force) คงที่สม่ำเสมอ ไม่เกิดการขยายตัวในช่วงบ่ายเมื่อสวมใส่ทั้งวัน และสามารถนำกับมาใช้ซ้ำได้ เอียมัฟป้องกันเสียงทีมีความถี่สูงได้ดี และในการทำงานในที่มีเสียงดังมากๆ ต่อเนื่อง การสวมใส่เอียมัฟจะให้ความปลอดภัยมากกว่า เนื่องด้วยความกระชับ และป้องกันได้คงที่มากกว่า

อย่างไรก็ตามการเลือกค่าการลดเสียง หรือNRR (NoiseReduction Rating) ที่เหมาะสมของอุปกรณ์ลดเสียง ควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนนำมาใช้งานจริง ตลอดจนมีการฝึกการป้องกันอันตรายจากเสียงดัง อบรมการสวมใส่อย่างถูกวิธีด้วย เพื่อป้องกันการสูญเสียการได้ยินของลูกจ้าง และเป็นไปตามการปฏิบัติตามข้อกำหนดของโครงการอนุรักษ์การได้ยินด้วย (Hearing conservation program)

 


ชื่อผู้ตอบ:


  • ผมมีโอกาสไปพูดเรื่อง ผู้นำด้านความปลอดภัย หรือ Safety Leadership ที่ บริษัท ปตท. สำรวจ และ ผลิต จำกัด (มหาชน) หรือ PTTEP ซึ่งเป็นหลักการที่ ผู้นำด้านความปลอดภัยทุกคนต้องทราบ และ นำ...

  • ตามหลักการของการสร้างพฤติกรรมความปลอดภัย BBS ที่นำไปสู่วัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดี Safety Culture สิ่งที่ขาดเสียไม่ได้เลย คือ"การแก้ไขเชิงบวกให้ถูกต้องทันที"เมื่อเจอการกระทำที่ไม่ปลอ...

  • หน้ากากจากญี่ปุ่น... ใช้ป้องกัน PM2.5 ได้ 99% จริงเหรอ? หน้ากากเหล่านี้ ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน PFE โดยใช้อนุภาคขนาด 0.1-1 ไมครอน เป็นตัวทดสอบประสิทธิภาพในการกรอง PFE , BFE, VFE ...

  • วิธีการใช้หน้ากาก N95 ป้องกันฝุ่น PM2.5 อันเนื่องมาจากสภาพอากาศในกทม.ตอนนี้ มีปริมาณความเข้มข้นของฝุ่น PM2.5 สูงเกินกว่าค่ามาตรฐานของความปลอดภัยต่อสุขภาพที่กำหนดไว้ หลายคนกำ...

  • หลายคน เลือกเรียนอาชีวอนามัยฯ เพราะเชื่อว่าเงินดี และไม่ตกงาน ข่าวร้าย คือ ยังมีอีกหลายอย่างที่เรายังไม่รู้ 1. จป.เป็นอาชีพที่น่ารังเกียจมาก เพราะทำให้ผลผลิตของนายจ้างลดลง เพิ...

  • การโค้ช เป็นกระบวนการหนึ่ง ที่หลายองค์กรได้นำมาใช้อย่างแพร่หลาย เพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับพนักงาน โดยเฉพาะการโค้ชผู้บริหาร และ ระดับหัวหน้า ในเรื่องของความปลอดภัยในการทำงาน ก็...

  • เมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2561 ผมได้รับเชิญไปพูดเกี่ยวกับ BBS การสร้างพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน ให้กับคณาจารย์ นิสิต ป.ตรี ป.โท ป.เอก และ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ณ ภาควิชาเคมีเท...

  • นับย้อนไป 12 ปี เมื่อเข้าสู่การเป็น "จป.วิชาชีพ" แบบเต็มตัวครั้งแรก...ผมไม่คิดว่าคนโง่ๆอย่างผม...จะได้งานรวดเร็วขนาดนี้... ผมได้งานเป็นคนแรกๆของรุ่น ผมได้งานใน บ.อินเดีย ปัญหาเรื่...

  • ทุกวันนี้ มีหลายคนแชทเข้ามาถาม ไลน์มาคุย โทรมาปรึกษา และถามผมว่า... ถ้าอยากเป็นจป.มืออาชีพ ต้องทำอย่างไร...? ผมมักจะถามกลับ ไปว่า เป้าหมายชีวิตของคุณ คือ อะไร ? คุณเห็นภาพของคุณใน...

  • จป. จบใหม่ จบตรงหลายคน อาจจะรู้สึกจี้ดบ้าง เมื่อถูก จป.ที่มีประสบการณ์มากกว่า หรือคนที่เคยทำงานมาก่อนพูดแบบนี้ ไม่มีใครหรอกครับ ที่มีประสบการณ์ตั้งแต่เรียนจบ อย่างมากก็แค่เคยฝึกงาน...

  • ผมได้เดินทางไปให้คำปรึกษา และสำรวจเกี่ยวกับการปกป้องระบบทางเดินหายใจในโรงพยาบาลต่างจังหวัดแห่งหนึ่ง และได้คุยกับ คุณลุงใจดีคนหนึ่งในห้องตัดเฝือก จึงได้ทักทายกัน ปราโมทย์ : สวัสดีคร...

  • เรื่องของเรื่องมันเป็นแบบนี้… ผู้ปฏิบัติงาน “อุบัติเหตุมันไม่เกิดขึ้นกับฉันตอนนี้หรอก, ฉันก็ทำแบบนี้มาตั้งนานแล้ว ก็ไม่เห็นจะเคยได้รับบาดเจ็บอะไรเลย, คุณรู้มั้ยว...

  • "พนักงานผสมสารเคมี ใส่ผ้าปิดจมูก และปฏิเสธที่จะสวมหน้ากากที่มีมาตรฐาน แต่อุปกรณ์อื่นๆใส่ครบหมด อย่างถูกต้องเราจะทำอย่างไร?" ตัวอย่างที่ 1 หัวหน้างาน : ใส่หน้ากากเดี่ยวนี้ เดี๋ย...

  • สาเหตุแอบแฝง(underlying causes) ขาดความรู้ หรือไม่ได้รับการอบรม คิดว่ามันไม่เกิดขึ้นตอนนี้หรอก ทัศนคติไม่ดีต่อความปลอดภัย ไม่เข้าใจการใช้งานอุปกรณ์ความปลอดภัย ทำแบบนี้มานานแล้วก็ไ...

  • วันนี้ได้มีโอกาสไปพูด "ปลุกจิตสำนึกการสวมใส่ PPE" สั้นๆ 1 ชม. ให้กับกลุ่มบริษัท Oil and Gas แห่งหนึ่ง เวลาค่อนข้างจำกัด ดังนั้นทุกนาทีต้องเป็นเรื่องที่ "คนฟังชอบ...ได้ประโยชน์... แ...

  • คนงานหลายคนในโรงหลอมสัมผัสมลภาวะทาง อากาศในการทำงาน เช่น. ควัน, ฝุ่น, SPM, RSPM, ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์, ซัลเฟอร์ไดออกไซด์, ออกไซด์ของไนโตรเจน, ไฮโดรคาร์บอน และ โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว,...

  • เสียงดังที่เรารู้จักกันโดยหลักๆมี 2 ประเภท คือ "เสียงดังชนิดแบบต่อเนื่อง" และ "ไม่ต่อเนื่อง" เสียงที่ดังอย่างต่อเนื่องสามารถแบ่งออกได้โดยพิจารณาความแตกต่างของระดับความดัง (Decibel)...

  • อันตรายจากงานพ่นสี (Spray painting)งานพ่นสีจัดเป็นงานที่มีความอันตรายมากงานหนึ่ง เนื่องจากสารปนเปื้อนที่เกิดขึ้นจากการพ่นสีประกอบไปด้วยสองตัวหลักคือ ละออง(Mist) และไอระเหย(Vapor)1 ...

  • ปัญหา โลกแตกที่นายจ้างและลูกจ้างเถียงกันก็คือว่า "เมื่อใดต้องใส่หน้ากาก?" นายจ้าง หรือหัวหน้างาน หรือ จป.บางคนบอกว่าสารเคมีมันเข้มข้นไม่เกินมาตรฐานไม่ต้องใส่ แต่พอนายจ้างหรือแขกมาเ...

  • สรุปสิ่งที่ได้รับตามความเข้าใจ และเทคนิคที่เรียนรู้มานะครับ OHSAS 18001 คือ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และถ้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมต้องไปอ่านเพิ่มใน Guideline 18002 ช...

  • เมื่อวันที่ 19 มี.ค. 57 ผมเดินทางไปบรรยายเรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมีอันตราย และอุปกรณ์ป้องกัน ให้กับบริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอัญธานี เขตประเวศ กทม. พอเปิดประตูรถลงมา ตกใจมาก...

  • ยาเสพติดชนิดใหม่ได้ระบาดไปแล้ว ทั่วโลก…! การออกฤทธิ์อย่างเฉียบพลันของมัน ทำให้เรามีอาการหงุดหงิด อารมณ์เสีย กระวนกระวาย ทุรนทุราย และตอนนี้มันหาซื้อได้ง่ายมาก มันกำลังอยู่ใน...

  • วันนี้ นั่งดูรายการคิดเปลี่ยนโลกทางช่อง 5 ผมว่ามีประโยชน์มากแม้จะเป็นเวลาสั้นๆ แต่อาจทำให้ชีวิตเราและผู้อื่นยาวนานมากขึ้น วันนี้รายการได้เชิญคุณเก๋ ชลลดา เมฆราตรีดารา ภาพยนต์ และพิ...

  • ช่วง นี้ค่อนข้างวุ่นๆเลยไม่มีเวลาเขียนบทความเท่าไร เผอิญไปเจอข้อมูลเก่าสมัยที่เป็นจป.วิชาชีพ อ่านแล้วเป็นประโยชน์ดีครับ ซึ่ง Near miss เป็นอะไรที่ช่วยให้เราประเมินได้ว่ามาตรการความ...

  • เบื่อมั้ย ที่ทุกๆปีจะต้องมาฟังประกาศ 7 วันอันตราย ชีวิตเราเอง แต่กลับต้องมาให้คนอื่นมาห่วงมาเตือน เราบกพร่องขนาดนั้นเชียวหรือ ประเทศไทย มีจำนวนประชากรพอๆกับสหราชอาณาจักร แต่แค...

  • หลายคนไม่ทราบว่าการรับรู้การได้ยิน ของเด็กนั้นไวมาก เราสามารถสังเกตได้จาก การที่เขาสะดุ้ง หรือตื่นขึ้นมา หันควับไปทางใดทางหนึ่ง อันนี้เกี่ยวกับแม่ซื้อหรือเปล่า ผมไม่มั่นใจนัก เรื่อ...

  • วันก่อนผมดูทีวีรายการ "รู้ทันประเทศไทย" โดยดร.เจิมศักดิ์ปิ่นทอง โดยมีแขกรับเชิญคือ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกริก และอีกท่านหนึ่งต้องขออภัยผมจำชื่อไม่ได้ ในรายการได้พูดถึงปัญหาโลกร้อนแล...

  • เมื่อวานนี้ ผมมีโอกาสไปพูด เรื่องการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ให้กับชมรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้กับผู้เข้าสัมมนาจำนวน 110 คน และคิดว่าเนื้อหาน่าจะเป็นประโ...

  • อยากเป็นผู้จัดการฝ่ายความปลอดภัยจริงๆหรือ? บนวิถีชีวิตของ จป. วิชาชีพ ความก้าวหน้าสูงสุดในหน้าที่การงาน ก็คือการได้เป็น ผจก.ความปลอดภัยฯ หรือ ไม่ก็ผจก.ความปลอดภัยฯส่วนภูมิภาคใด ...

  • 1. นายจ้างไม่ให้การสนับสนุน ขออะไรไปก็ไม่ให้ความร่วมมือ ดังนั้นไปหานายจ้างคนใหม่ดีกว่า 2. ถูกลดคุณค่า มอง จป.เป็นไม้กันหมา คิดแค่ว่า จ้างเราไว้ให้มีตามกฎหมายก็เพียงพอแล้ว ...

  • ภาพ: กรุงเทพธุรกิจ กรณีศึกษา Deepwater Horizon แท่นขุดเจาะน้ำมัน BP ระเบิดครั้งใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อ 20 เม.ย. 2010 มีผู้เสียชีวิต 11 ราย มีน้ำมันรั่วไหลสู่ทะเลทั้งหมด 4.9 ล้านบา...
Visitors: 122,338